บทสวดมนต์ บทสวดมนต์วันพระ บทสวดมนต์ตอนเช้า บทสวดมนต์ก่อนนอน บทสวดมนต์ข้ามปี

บทสวดมนต์ รัตนสูตร รัฐบาลเชิญชวนร่วมสวดมนต์ ปัดเป่าภัยจากโรคโควิด-19

รัฐบาลเชิญชวนคนไทยร่วมสวดมนต์ รัตนสูตร พร้อมกันทั่วประเทศ หวังปัดเป่าภัยจากโรคระบาด โควิด-19 โดยถ่ายทอดสด ในวันที่ 25 มีนาคม 2563 แต่ บทสวดมนต์ รัตนสูตร สวดยังไงกันนะ ทางเว็บไซด์ได้ลงบทสวดมนต์ และที่มาคร่าว ๆ ไว้ให้เรียบร้อยแล้วค่ะ โดยบทสวดมนต์นี้ เชื่อกันว่า เหตุที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสูตรนี้ เพื่อขจัดปัดเป่าภัยความอดอยาก ภัยจากโรคระบาด และภัยจากอมนุษย์เบียดเบียน ชาวพุทธจึงถือเป็นธรรมเนียมสวดพระสูตรนี้เพื่อขจัดโรคภัยเช่นโรคห่า เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อว่า การสาธยายรัตนสูตร หรือรัตนปริตรจะทำให้ได้รับความสวัสดี และพ้นจากอุปสรรคอันตรายทั้งหลาย [spoiler title="หน้านี้มีอะไรบ้าง?" style="fancy" icon="plus-square-1"] บทสวดมนต์ รัตนสูตร เนื้อหาของ บทสวดมนต์ ประวัติความเป็นมา [/spoiler] บทสวดมนต์ รัตนสูตร (ตั้งนะโมฯ 3 จบ) ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะอันตะลิกเข สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา [อ่านต่อ..]

By |2021-10-05T09:41:28+07:00March 19th, 2020|บทสวดมนต์|0 Comments

บทกรวดน้ำ การกรวดน้ำ พร้อมคำแปล เริ่มต้นด้วย อิมินา ปุญญะกัมเมนะ

บทกรวดน้ำ เริ่มต้นด้วยความหมายของการกรวดน้ำ การกรวดน้ำ คือ การตั้งใจอุทิศบุญกุศล ให้แก่ผู้ล่วงลับพร้อมกับรินน้ำเป็นเครื่องหมาย และเป็นเครื่องรวมกระแสจิตใจอุทิศนั้นแน่วแน่ วิธีปฏิบัติ เริ่มต้นเตรียมน้ำสะอาดใส่ภาชนะไว้พอสมควร จะเป็นคณฑี ขวดเล็ก แก้วน้ำ หรือขัน อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ พอพระสงฆ์เริ่ม อนุโมทนาด้วยบท ยถา... ก็เริ่มกรวดน้ำ โดยตั้งใจ นึกอุทิศส่วนบุญ มือขวาจับภาชนะน้ำริน ใช้มือซ้ายประคอง แล้วว่าบทกรวดน้ำในใจไปจนจบ พอพระรูปที่ ๒ รับว่า "สัพพีติโย" ก็หยุดหลั่งน้ำกรวด แล้วเทน้ำ กรวดที่ยังเหลืออยู่นั้นลงในภาชนะที่รองรับน้ำให้หมด แล้วประณมมือรับพร การหลั่งน้ำกรวด ถ้าเป็นพื้นดินควรหลั่งลง ในที่สะอาดหมดจด ถ้าอยู่บนเรือนหรือสถานที่ ที่ไม่ใช่พื้นดิน ต้องหาภาชนะอื่นที่สมควร เช่น ถาดหรือขัน เป็นต้น รองน้ำกรวดไว้เสร็จแล้วจึงนำไป เทลงดินตรงที่สะอาด อย่าใช้กระโถนหรือภาชนะสกปรกรองเป็นอันขาด เพราะน้ำที่กรวดเป็น สักขีพยานในการทำบุญของตนว่าทำด้วยใจสะอาดจริง ๆ บทกรวดน้ำ บทกรวดน้ำแบบยาว พร้อมคำแปลแต่ละบรรทัด อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา [อ่านต่อ..]

By |2020-05-18T17:24:33+07:00October 16th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทสวดอิติปิโส เริ่มต้นด้วย อิติปิโสภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธ

การที่ชาวพุทธ สวดบทอิติปิโสก่อนนอนทุกคืน สวดแล้วสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกปักรักษา ต่อชะตาอายุ แคล้วคลาดปลอดภัย ก่อนที่จะสวด การสวดอิติปิโส ควรจะต้องเริ่มต้นการสวดด้วย คำบูชาพระรัตนตรัย และ คำนมัสการนอบน้อมพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หลังจากนั้นค่อยเริ่มสวด บทสวดอิติปิโส ต่อไป บทสวดอิติปิโส คำบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบหนึ่งครั้ง) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมังนะมัสสามิ (กราบหนึ่งครั้ง) สุปะติปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆะนะมามิ (กราบหนึ่งครั้ง) คำนมัสการนอบน้อมพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (ว่า 3 หน) ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ เริ่มต้น [อ่านต่อ..]

By |2020-05-18T17:25:20+07:00October 15th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทสวดไตรสรณคมน์ เริ่มต้นด้วย พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ พร้อมคำแปล

ก่อนที่จะกล่าวถึง บทสวดไตรสรณคมน์ กระผมอยากให้ทุกท่าน ได้ทำความเข้าใจกับคำว่า ไตรสรณคมน์ กันก่อน ไตรสรณคมน์ ก็คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ การที่ชาวพุทธ สวดไตรสรณคมน์ ก็เหมือนเป็นการน้อมกาย, วาจา, ใจ นำพระรัตนตรัยเข้าไปไว้ในตน เพื่อแสดงว่าตนมีพระรัตนตรัยเป็นที่ระลึกนึกถึง และ เป็นที่พึ่งตลอดไป และแสดงตนเป็นพุทธมามกะ เป็นผู้รับนับถือพระพุทธศาสนา บทสวดไตรสรณคมน์ เริ่มต้น บทสวดไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก [อ่านต่อ..]

By |2021-09-24T10:31:33+07:00October 10th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทแผ่เมตตา การแผ่เมตตา คืออะไร บทกรวดน้ำ ให้เจ้ากรรมนายเวร

บทแผ่เมตตา มีหลายแบบ เช่น เมตตาแบบทั่วไป (ที่ขึ้นต้นด้วย สัพเพ สัตตา) บทสวดแผ่เมตตาให้ตนเอง ให้ผู้อื่น ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย บทสวดแผ่ส่วนกุศล คำแผ่ การแผ่เมตตา เป็นสิ่งที่โบราณ ที่ชาวพุทธทั้งหลาย ปฏิบัติต่อกันมาตั้งแต่พุทธกาล บทแผ่เมตตา การแผ่เมตตา คืออะไร เมตตา คือความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่น โดยปราศจากความอิจฉาริษยา ความจริงใจฐานมิตร ดังนั้น การแผ่เมตตาจึงได้แก่การส่งกระแสจิตของตนไปสู่ผู้อื่นทั้งที่เป็น มนุษย์ และสัตว์ด้วยความหวังดีที่จะให้เขามีความสุข ได้รับความสมหวังในชีวิต เป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจที่เปี่ยมด้วยเมตตาธรรมของผู้แผ่เมตตา ประโยชน์ของ การสวดแผ่เมตตา ทำให้ผู้ปฏิบัติเป็นประจำมีจิตใจอ่อนโยน เยือกเย็นลงได้ เป็นแสงส่องทางนำให้โลกเกิดสันติ สุขได้ ผู้ได้รับเมตตาจิต จะพลอยมีจิตอ่อนโยน เยือกเย็น และได้พบกับความสุขทางใจไปด้วย เกิดสังคมที่ดี คิดถึงส่วนรวมก่อนตนเอง ผู้ปฏิบัติจะเป็นผู้ให้ที่สมบูรณ์แบบที่สุด บทแผ่เมตตา บทแผ่เมตตาทั่วไป สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวราโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อัพยาปัชฌาโหนตุ [อ่านต่อ..]

By |2020-05-18T17:26:37+07:00October 8th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทสวดพาหุง บทสวดมนต์ชัยมงคลคาถา บทสวดพาหุงมหากา

บทสวดมนต์ ชัยมงคลคาถา บทสวดพาหุง บทสวดพาหุงมหากา บทสวดมนต์ชัยมงคลคาถา หรือมักเรียกว่า บทสวดพาหุง และยังมีอีกหลายคำที่ใช้เรียกบทสวดบทนี้ เช่น พระคาถาพาหุง บทสวดพาหุงมหากา  บทสวดถวายพรพระ บทสวดมนต์นี้เป็นพระคาถาในพระพุทธศาสนา มีความยาวแปดบท ประโยชน์ของการ สวดพาหุง ช่วยให้จิตใจเข้มแข็ง พร้อมเผชิญอุปสรรคปัญหาต่าง ๆ ที่ผ่านเข้า ทำให้เกิดสติปัญญา สมาธิ และสติ พระคาถานี้ปัจจุบันมักใช้สวดต่อจากคาถาทำวัตรเช้าหรือเย็น บทสวดพาหุง บทสวดพาหุงมหากา เริ่ม บทสวดพาหุง นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ( 3 จบ ) พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง [อ่านต่อ..]

By |2020-05-18T17:28:24+07:00October 7th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

สวดมนต์ก่อนนอน แบบสั้น และ เต็มรูปแบบ รวมถึง คาถาชินบัญชรแบบย่อ

สวดมนต์ก่อนนอน ดีอย่างไร ในวัฒนธรรมไทย สวดมนต์ก่อนนอน เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ทำให้เรามีความสุขได้ เพราะนอกจากจะทำให้เราสบายใจขึ้นแล้ว ยังเป็นการเปิดโอกาสให้เราได้อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้เพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์ทั้งหลายในโลก ตลอดจนเจ้ากรรมนายเวรได้อีกด้วย ซึ่งในบทสวดมนต์ก่อนนอนนั้น ไม่ว่าจะเป็นบทใดก็ตามล้วนแล้วแต่แฝงไปด้วยข้อคิดดี ๆ ต่าง ๆ มากมาย ที่ช่วยเป็นหลักในการดำเนินชีวิตของเรา ดังนั้นแล้ว การสวดมนต์เป็นเรื่องที่น่าปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง และยิ่งปฏิบัติมากเท่าไร ก็จะส่งผลดีต่อตัวเรามากเท่านั้น ทั้งทางจิตใจ สุขภาพ ปัญญา วันนี้สำหรับใครที่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นบทสวดมนต์ก่อนนอนที่ถูกต้องอย่างไร บันทึกหน้านี้ไว้ได้เลย เราเรียบเรียงบทสวดต่าง ๆ มาให้ทุกท่านได้ปฏิบัติตามอย่างครบถ้วนแล้วครับ มาทำตามเรากันได้เลย บทสวดมนต์ก่อนนอน แบบสั้น อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ 1 ครั้ง) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ 1 ครั้ง) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ 1 [อ่านต่อ..]

By |2021-10-05T09:10:08+07:00September 28th, 2019|บทสวดมนต์|2 Comments

คาถาชินบัญชร บทสวดชินบัญชร ความหมายคาถาชินบัญชร

คาถาชินบัญชร ความเป็นมาของ  คาถาชินบัญชร  ชินบัญชร นั้นแปลว่า กรง หรือ เกราะป้องกันภัยของพระพุทธเจ้า คำว่า ชิน หมายถึง พระพุทธเจ้า คำว่า บัญชร หมายถึง กรง หรือ เกราะ โดยที่เนื้อหาในคาถาในชินบัญชรนั้นจะเป็นการอัญเชิญการสวดพระคาถาชินบัญชร (ซึ่งถือเป็นการอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาสถิตอยู่กับเรา) พุทธคุณทั้ง ๙ ประการ มีดังนี้เมตตามหานิยม แคล้วคลาด ปราศจากโรค ได้ลาภ ได้ยศ ค้าขายดี มีวิชาความรู้ เจริญรุ่งเรือง ประโยชน์ของการสวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรเป็นประจำอยู่สม่ำเสมอ จะทำให้เกิดความสิริมงคลต่อชีวิต และคุ้มครองป้องกันภัย รวมถึงยังเป็นการรำลึกถึงพระพุทธคุณอีกด้วย ถกเถียงกันมานานนับทศวรรษ เกี่ยวกับปริศนาที่ว่า ใครกันแน่เป็นผู้แต่ง คาถาชินบัญชร ระหว่าง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรํสีแห่งวัดระฆังโฆษิตาราม กับพระมหาเถระผู้เชี่ยวชาญบาลีปกรณ์รูปหนึ่งจากเชียงใหม่ กรณีของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) นั้น ภายหลังเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางแล้วว่า ท่านเป็นเพียงผู้นำคาถาชินบัญชรมาเผยแพร่ให้ผู้คนรู้จักเท่านั้น ทว่า มิได้เป็นผู้เริ่มต้นรจนา ดังที่บันทึกไว้ว่า ท่านได้ไปสวดคาถานี้ถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [อ่านต่อ..]

By |2021-10-05T09:10:07+07:00September 26th, 2019|บทสวดมนต์|6 Comments

บทสวดนมัสการพระรัตนตรัย บทสวดมนต์ นมัสการพระรัตนตรัย และ คำแปล

บทสวดนมัสการพระรัตนตรัย บทสวดนมัสการพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สวด 3 จบ) (กราบ) แปล บทสวดนมัสการพระรัตนตรัย ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (กราบ)   รูปภาพจาก Father150 กลับสู่หน้าหลัก  บทสวดมนต์ กลับขึ้นไปด้านบน | กลับสู่หน้าหลัก  บทสวดมนต์

By |2022-08-11T14:27:13+07:00August 29th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทสวดกราบพระรัตนตรัย บทสวดมนต์ กราบพระรัตนตรัย พร้อมบาลี และ คำแปล

  บทสวดกราบพระรัตนตรัย บทสวดกราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สะหวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ) แปล บทสวดกราบพระรัตนตรัย สมเด็จพระผู้มีพระภาคเป็นพระอรหันต์ หมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมอง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ข้าพเจ้าขออภิวาทพระพุทธเจ้าผู้มีพระภาค พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรม พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ บาลี บทสวดกราบพระรัตนตรัย อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พุทฺธํฺ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม ธมฺมํ นมสฺสามิ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สงฺฆํ นมามิ บทสวดมนต์ บทสวดกราบพระรัตนตรัย [อ่านต่อ..]

By |2021-10-05T09:10:03+07:00August 29th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments

บทสวดบูชาพระรัตนตรัย บทสวดมนต์ บูชาพระรัตนตรัย พร้อมบาลี และ คำแปล

บทสวดบูชาพระรัตนตรัย บทสวดบูชาพระรัตนตรัย สำหรับสวดมนต์ ทำวัตร อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ (กราบ) แปล บทสวดบูชาพระรัตนตรัย ขอบูชาพระพุทธด้วยเครื่องสักการะนี้ ขอบูชาพระธรรมด้วยเครื่องสักการะนี้ ขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้ บทสวดบูชาพระรัตนตรัย บทสวดบูชาพระรัตนตรัย อีกแบบ โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น พระองค์ใด เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นแล้ว ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ตรัสไว้ดีแล้ว สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด ปฏิบัติดีแล้ว ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง [อ่านต่อ..]

By |2021-10-05T09:56:16+07:00August 29th, 2019|บทสวดมนต์|0 Comments